วันอังคารที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2558

ผู้จัดการรายหนึ่งได้อยากทำสระว่ายน้ำ จึงได้จ้างคนงานมาทำ

ท่านจึงปรารภกับกระผมว่า ให้กระผมจัดทีมที่ปรึกษาฯ ขึ้นหนึ่งชุด เพื่อทำ หน้าที่วิเคราะห์ข้อมูล
รวมทั้งการเสาะแสวงหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อประกอบ คำเสนอแนะต่อท่าน เพื่อให้การดำเนินงานของคณะที่ปรึกษามีอำนาจถูก  ห่วงยางเป่าลมหงส์ขาว ต้องตามกฎหมาย จึงอาศัยอำนาจจากคณะปฏิวัติ ฉบับ ที่ 218 ว่าด้วย ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งเป็นกฎหมายในตอนนั้น “เขาชี้แจง ต่อว่า” ผมจำได้ว่า เป็นคำลังจากสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ที่ 84/ 2531 ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2531 ประกอบด้วย คุณพันสักด วิญญรัตน์ ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณีย์ ดร.ชวนชัย อัซนันต์ ดร.บวรสักด อุวรรณโณ ดร.สุรเกียรติ เสถียรไทย และ ม.ร.ว.สุขุมพันธ์ บริพัตรโดยคุณพันสักด เป็นประธานที่ปรึกษาฯและดร.ชวนชัยเป็นเลขานุการ ส่วนตัวกระผมเองถูกยืมตัวจากคณะ สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มาช่วยราชการสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี ในฐานะนักวิจัยประจำคณะที่ปรึกษาฯ นอกจากนี้กระผมยัง ขอตัวเพื่อนๆ และน้องๆ ทั้งที่เป็นนักวิชาการของมหาวิทยาลัย และนักวิชา การอิสระ อีกหลายท่านมาร่วมกันทำงานที่บ้านพิษณุโลก”โดยในเดือนธันวาคม 2531 มีการแต่งตั้งทีมที่ปรึกษาบ้านพิษฯ เพิ่มอีก 3 คณะ คือ 1.คณะที่ปรึกษา นโยบายของนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไข ปัญหาลังคมในเมืองซึ่งมีดร. สุเมธ ขุมสาย ณ อยุธยา เป็นประธาน มีครู ประทีป อึ้งทรงธรรมและดร.ประภาภ้ทร นิยม จากคณะสถาปัตย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นที่ปรึกษา 2.คณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีว่า ด้วยแรงงานศรีสัชนาลัย ซึ่งมีศจ.ดร. นิยม จันทรวิฑูร เป็นประธาน มีดร.จิระ หงส์ระดารมณ์ ดร.มาลี พฤษพงศวลี อาจารย์แล ดิลกวิทยารัตน์ ดร. ลังศิต พิริยะรังสรรค์ และคนอื่นๆ เป็นที่ปรึกษา3.คณะที่ปรึกษานโยบายของนาย  กรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบายด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีซึ่งมีรศ.ดร.กำจัด มงคลสกุล เป็นประธาน และ มีศจ.ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ์ ศจ..ดร.ยงยุทธ ยุทร'วงศ์ ศจ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ศจ.ดร.หริส สูตะบุตร และดร.เลอสรร ธนสุกาญจน์ เป็นที่ ปรึกษาคณะที่ปรึกษาทั้งหมดในครั้งนั้น ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบ หมายอย่างดียิ่ง ทว่าจะไม่ประสบความสำเร็จในหลายๆ เรื่องก็ตาม แต่ก็มี บางเรื่องที่สำเร็จ ซึ่งสมควรน่ามาบอกกล่าวให้ทุกท่านได้รับทราบกระผมกล้า พูดและยืนยันถึง การทำงานของท่านที1ปรึกษาทุกท่านที่ได้มีล่วนผลักดัน นโยบายสำคัญๆ และให้คำเสนอแนะ ที่ช่วยให้ท่านนายกรัฐมนตรีสามารถ มีทางเลือกตัดสินใจอย่างเหมาะสมหลายๆ เรื่องอาทิ ด้านการบริหารราช การแผ่นดิน การอนุมีตโครงการขนาดใหญ่ต่างๆแพยางมือหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการจัดซื้อจัด จ้าง และสัญญาที่ทำกับรัฐบาลและหน่วยงานราชการซึ่งนอกจากจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบอันยุ่งยากของทางราชการ แล้ว ทางที่ปรึกษาฯ ยังได้เปิดมิติใหม่ในการเสนอเรื่องให้คณะรัฐมนตรี พิจารณาโดยแต่เดิมจำกัดการตัดสินใจเพียงทางเลือกเดียว ให้เป็นการเสนอ หลายๆ ทางเลือก รวมทั้งระบบเหตุผลและความรับผิดชอบทางการเมือง ซึ่งเราแก้ไขให้เป็นระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสนอเรื่องให้ คณะรัฐมนตรีพิจารณา พ.ศ. 2532 ซึ่งเป็นมิติใหม่ของการบริหารงานอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แต่น่าเสียดายที่ระเบียบฉบับนี้ถูกยกเลิกไป ในยุค รสซ.อาถรรพ์ บ้านพิษณุโลกพร้อมกันนี้เรายังผลักดันระเบียบสำนักนายกรัฐมนตริ ว่าด้วยการ บริการประชาชน พ.ศ. 2532 เพื่อให้เป็นหลักประกันขั้นพื้นฐานแก่ประชาชน ในการติดต่อราชการ และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตริฉบับนี้ยังมีผลบังคับ ใช้อยู่ ซึ่งเป็นการปูทางจัดให้มีกฏหมาย ว่าด้วยการพิจารณาทางการปกครอง ขณะเดียวกัน ยังมองถึงปัญหามองถึงกำลังคนในทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่กำลังวิกฤติ  เราสนับสนุนให้มี การพัฒนาศักยภาพของสถาบันการศึกษาของเอกชน ในการผลิตบุคลากร ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเสนอแนะมาตรการต่างๆ เช่นจัดทุน การศึกษากระทรวงวิทยาศาสตร์ จำนวน 9,000 ล้านบาท การจัดให้มีค่า ตอบแทนพิเศษแก่ครูอาจารย์ด้านวิทยาศาสตร์ รวมทั้งการขยายเวลา เกษียณอายุราชการออกไปเป็น 65 ปี เป็นต้นนอกจากนั้นยังเร่งผลักดันกฎหมายประกันสังคมให้สำเร็จเป็นจริง เพื่อ ให้การคุ้มครองแก่ผู้ใช้แรงงาน ซึ่งยังขาดสวัสดิการที่เหมาะสมให้ได้รับการ ดูแลอย่างจริงจังจากรัฐขณะที่การอนุมัติโครงการขนาดใหญ่ คณะที่ปรึกษาต่างได้รับมอบ หมายให้ศึกษาและพิจารณาโครงการขนาดใหญ่แทบทุกโครงการ อาทิ โครงการทางด่วนขั้นที่สอง ซึ่งค้างมาจากรัฐบาลชุดก่อน โครงการโทรศัพท์3 ล้านเลขหมาย การอนุมัติจัดตั้งสาขาของธนาคารต่างประเทศ การจัดชื้อ เครื่องบินของการบินไทย และการจัดซื้ออาวุธของทหารเป็นต้น โดยเอกสาร เพิ่มเติมนั้นฝ่ายสนับสนุน และคัดค้านได้จัดส่งมาให้บ้านพิษณุโลกพิจารณา เป็นจำนวนมาก และบางส่วนอาจถูกนำไปดัดแต่งทำเป็นเอกสารเท็จก็ได้ ส่วนนโยบายด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ แพยางลำใหญ่ และการต่างประเทศ การ ผลักดันนโยบายแปรสนามรบให้เป็นสนามการค้า เรายุตินโยบายเผชิญหน้า กับประเทศเพื่อนบ้าน ในยุคสงครามเย็น ส่งเสริมให้มีการเปิดกว้างทางด้าน อาถรรพ์ บ้านพิษณุโลกปารณ็ย์ คชพ} “    64 การค้า และการลงทุนในภูมิภาคอินโดจีน กาลเวลาผ่านไปจนถึงปัจจุบัน ได้ พิสูจน์การมีวิสัยทัศน์ และการตัดสินใจที่ถูกต้อง ของนโยบายต่างประเทศ ของหัวหน้ารัฐบาลในขณะนั้นได้เป็นอย่างดี การเจรจาการค้า สหรัฐอเมริกา และประเทศคู่ค้า

แพยางหงส์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น